เอาละครับคงไม่มีใครรู้หรอกครับว่ามันเป็นวันอะไรน่า
ก็วันที่4สิงหาคมของทุกปีจะมีวันสื่อสารด้วย
เอาละประวัติ แปๆๆๆ
ทุกวันที่ 4 สิงหาคม ของทุกปี
"การสื่อสารเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการพัฒนา สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า รวมทั้งรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในสมัยปัจจุบัน ที่สถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ย่อมมีความสำคัญมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายและทุกหน่ายงานที่เกี่ยวข้อง กับการสื่อสารของประเทศ จึงควรจะได้ร่วมมือกันดำเนินงานและประสานผลงานกันอย่างใกล้ชิด และสอดคล้อง
สำคัญที่สุด ควรจะได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการและเทคโนโลยี อันทันสมัยให้ลึงและกว้างขวาง แล้วพิจารณาเลือกเฟ้นส่วนที่ดีมีประสิทธิภาพแน่นอนมาปรับปรุงใช้ด้วยความ ฉลาดริเริ่ม ให้พอเหมาะพอสมกับฐานะและสภาพบ้านเมืองของเรา เพื่อให้กิจการสื่อสารของชาติได้พัฒนาอย่างเต็มที่ และสามารถอำนวยประโยชน์แก่การสร้างเสริมเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพของบ้านเมืองได้อย่างสมบูรณ์แท้จริง"
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2526
เนื่องในโอกาสการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติครั้งแรก พ.ศ. 2526
ความเป็นมาของวันสื่อสารแห่งชาติ
การสื่อสารในประเทศไทย นอกจากพิราบสื่อสารและม้าเร็วแล้ว การสื่อสารเริ่มเข้ามามีบทบาทต่อประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ช่วงที่บ้านเมืองปลอดจากภัยสงคราม การเมืองภายในประเทศมีเสถียรภาพมั่นคง โดยวัตถุประสงค์ของการสื่อสารในยุคนั้น ก็เพื่อนำมาสนับสนุนกิจการด้านงานความมั่นคงของประเทศ ซึ่งยุคนั้นเรียกได้ว่า เป็นยุคเริ่มล่าอาณานิคมของชาติมหาอำนาจทั้งอังกฤษและฝรั่งเศส ต่างแย่งชิงผลประโยชน์ในภูมิภาคนี้ด้วยกัน และอารยะธรรมตะวันตกเริ่มหลั่งไหลเข้ามาสู่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
ต่อมาในยุคพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) การสื่อสารได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับราชสำนัก และเกิดพัฒนาสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกับประเทศมหาอำนาจ จนทำให้ประเทศรอดพ้นจากการถูกคุกคามจากมหาอำนาจตะวันตกหลายครา รวมทั้งการสื่อสารสามารถทำให้รับเอาวิทยาการใหม่ๆ มาปรับปรุงพัฒนาประเทศในเวลาต่อมา
จนกระทั่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงเจริญรอยตามพระราชบิดาในการปฏิรูปประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหากษัตริย์ผู้วางรากฐานกิจการสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศไทย พระองค์ทรงเห็นความสำคัญของการสื่อสารว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ และเพื่อบำบัดทุกข์ราษฎรในพื้นที่ห่างไกล ตลอดจนสนับสนุนงานด้านความมั่นคงของชาติด้วยประการหนึ่ง แรกทีเดียวนั้นการสื่อสารอยู่ในรูปไปรษณีย์พิเศษ ซึ่งเป็นหนังสือที่จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ในบบพระบรมมหาราชวัง]] และเขตบบพระนครชั้นใน]] โดย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ และเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2424 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง บบสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์]] เป็นผู้ก่อตั้งการไปรษณีย์
จอมพลสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช บิดาแห่งการโทรคมนาคมไทย
จนในที่สุดการสื่อสารของบบไทย]] โดยการบบไปรษณีย์]]ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็น “กรมไปรษณีย์” อย่างเป็นทางการขึ้น ในวันที่ 4 สิงหาคม 2426 โดยมีที่ทำการไปรสะนียาคารแห่งแรก ที่ ปากคลองโอ่งอ่าง ตำบลราชบูรณะ และอาคารในพระราชอุทยานสราญรมย์
ขณะนั้นได้เริ่มมีการนำเทคโนโลยีบบโทรคมนาคม]]เข้ามา นั่นคือ กิจการโทรเลข ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีโทรคมนาคมอันทันสมัยรวดเร็วที่สุดในยุคนั้น เดิมทีกิจการโทรเลขอยู่ในความดูแลของกลาโหม และมีพัฒนาการต่อเนื่องนับตั้งแต่มีการวางสายโทรเลขเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2418 กรุงเทพฯ ไป สมุทรปราการ เพื่อใช้ในงานราชการ จนกระทั่งได้เปิดให้มีบริการสำหรับประชาชนเป็นครั้งแรก เมื่อ 16 กรกฎาคม 2426 โดยมีอัตราค่าบริการ “คำละ 1 เฟื้อง” จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นเป็น “กรมโทรเลข” อีกกรมหนึ่ง และมีสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการกรมโทรเลขอีกตำแหน่งหนึ่ง จากนั้นกลาโหมได้เริ่มมีการนำโทรศัพท์เข้ามาและมอบให้กรมโทรเลขดูแลต่อ
จะเห็นได้ว่ากิจการไปรษณีย์และกิจการโทรเลขนั้นคือ งานบริการประชาชนเพื่อติดต่อสื่อสาร ด้วยเหตุนี้ ในปี พ.ศ. 2441 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ จึงได้มีหนังสือกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้รวม กรมไปรษณีย์ และ กรมโทรเลข เป็นกรมเดียวกัน
บบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมทั้งสองกรมไว้เป็นกรมเดียวกันชื่อว่า “กรมไปรษณีย์โทรเลข” ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2441 เป็นต้นมา
เมื่อเกิดทิศทางในการรวมการสื่อสารของชาติมาอยู่ที่เดียว กันจึงเกิดการพัฒนามากมายอย่างรวดเร็วตามมา เช่น มีการนำรถไฟมาสนับสนุนกิจการไปรษณีย์ ก็เกิดเป็นการรถไฟตามมา มีการนำเครื่องบินมาสนับสนุนการไปรษณีย์ที่เรียกว่า รอยัลเมลล์ ก็เกิดมีการบินขึ้นต่อมา การไปรษณีย์และโทรเลขมีการขยายบริการไปทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งทำหน้าที่เป็นสื่อกลางของชาติในการสื่อสารไปยังต่างประเทศทั่วโลก ภารกิจของกรมไปรษณีย์โทรเลข มีมากมายขึ้น ถือได้ว่าเป็นราชการกรมแห่งแรกในประเทศก็กล่าวได้ จนเกิดงานสาธารณะอันสำคัญของประเทศให้รับผิดชอบขึ้นมากมาย ทั้งงานบริการโทรคมนาคมา กิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการออมสิน กิจการวิทยุการบิน กิจการโทรศัพท์ซึ่งภายหลังได้แยกออกไป
จนกระทั่งปัจจุบันสืบเนื่องจากเจตนารมณ์ตามมาตรา 40 แห่งรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ที่ต้องการให้มีองค์กรอิสระปราศจากการแทรกแซงจากรัฐ เข้ามาทำหน้าที่บริหารทรัพยากรคลื่นความถี่วิทยุ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์ของสาธารณะและกำกับดูแลให้ เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม อย่างแท้จริง จึงได้เกิดการตราพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2543 ขึ้นมา ตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญฯ ฉบับดังกล่าว ส่งผลให้มีการประกาศให้ยุบกรมไปรษณีย์โทรเลข และจัดตั้ง “สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ (กทช.)” ขึ้นมาทำหน้าที่บริหารทรัพยากรโทรคมนาคมของชาติ และกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมให้เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม ดังที่ทราบกันดีในปัจจุบัน
จากการปฏิรูปการกำกับดูแลและบริหารกิจการสื่อสารโทรคมนาคม ของชาติโดยภาคประชาชนในครั้งนั้นเอง ทำให้ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงจากรัฐทั้งอำนาจบริหารและงบ ประมาณ ทำหน้าที่กำกับดูแล (Regulator) กิจการโทรคมนาคมของประเทศ โดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ชุดแรกจำนวน 7 คน ประกอบด้วย พลเอกชูชาติ พรหมพระสิทธิ์ ประธาน กทช. ศาสตราจารย์เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์ ศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ นายเหรียญชัย เรียววิไลสุข นายสุชาติ สุชาติเวชภูมิ รองศาสตรา จารย์สุธรรม อยู่ในธรรม และ ดร.อาทร จันทวิมล (ปัจจุบันลาออกแล้ว)
บทบาทหลักของ กทช. คือ การบริหารคลื่นความถี่ เพื่อกิจการโทรคมนาคมและกำกับควบคุมดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐและประโยชน์สาธารณะ อื่น ๆ ดูแลผลักดันให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมถึงส่งเสริมบทบาทด้านโทรคมนาคมไทยในเวทีโลก เพื่อให้การโทรคมนาคมไทยเจริญก้าวหน้า อันจะส่งผลให้เกิดความเจริญแก่บ้านเมืองในทุกด้านตามมา
นอกจากนี้ หน้าที่ที่สำคัญของ กทช. ตามภารกิจที่กฎหมายบัญญัติไว้มีอยู่อีกมากมายหลายประการ อาทิ ด้านการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่ สำหรับผู้ประกอบการ การออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม การจัดสรรความถี่วิทยุเพื่อประโยชน์สาธารณะในด้านความมั่นคงของรัฐ การให้บริการประชาชน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การช่วยเหลือสังคม และการเปิดเสรีสำหรับบริการอินเทอร์เน็ตให้เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม อีกทั้งด้านการบริหารทรัพยากรและโทรคมนาคมอื่น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน อาทิ การจัดทำแผนเลขหมายโทรคมนาคมและการบริหารเลขหมายโทรคมนาคม รวมทั้งกำกับดูแลการบริหารเลขหมายให้เกิดความเป็นธรรม คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด
อย่างไรก็ตามปัจจุบัน เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศ และบทบาทของภาคเอกชนมีมากขึ้นรวมทั้งการแข่งขัน ในกิจการสื่อสารทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ได้ทวีความเข้มข้นยิ่งขึ้น ความได้เปรียบในเรื่องเศรษฐกิจของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ขึ้นอยู่กับการมีระบบการสื่อสารให้เจริญก้าวหน้า ทัดเทียมกับประเทศอื่น คณะรัฐมนตรีได้ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญของการสื่อสารดังกล่าวเป็นอย่างดี จึงได้มีมติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2546 กำหนดให้วันที่ 4 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ"
การจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติ
การจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติมีขึ้นเป็นประจำทุกปี (ยกเว้นปี พ.ศ. 2533 คณะกรรมการจัดงานวันสื่อสาร แห่งชาติได้มีมติให้งดการจัดแสดงนิทรรศการ คงมีแต่เฉพาะงานพิธีและการประชุมทางวิชาการเรื่องเทคโนโลยีพื้นฐานและการวาง แผนระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม) และในการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติแต่ละปี จะเน้นหัวข้อการจัดงานแตกต่างกันไปทุกปี เช่น
•พ.ศ. 2528 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับบบเยาวชน]]แห่งชาติ
•พ.ศ.2530 หัวข้อการจัดงาน คือ บบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]กับการสื่อสาร
•พ.ศ. 2535 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารเพื่อทศวรรษหน้า
•พ.ศ.2538 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับการพัฒนาเทคโนโลยีการสนเทศ เนื่องจากรัฐบาลได้ประกาศให้ปี พ.ศ.2538 เป็นปีเทคโนโลยีสารสนเทศไทย
กิจกรรมต่างในวันสื่อสารแห่งชาติ
ในวันสื่อสารแห่งชาติ ได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่
1. พิธีถวายเครื่องสักการะพระบบอนุสาวรีย์]]สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
2.การกล่าวคำปราศรัยของพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
3.การจัดทำดวงตาไปรษณียากรที่ระลึกวันสื่อสารแห่งประเทศไทย
4.การจัดนิทรรศการแสดงเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
กิจกรรมถึง 6โมงเย็นนี้นะครับ
เราได้เห็นความสำคัญของเครื่องสื่อสารแล้ว
ใครโพสก่อนบ่าย 3 รับไปเลย V.I.P สำหรับคลับสึนะ โปรดติดตาม กิจกรรมหน้า
ก็วันที่4สิงหาคมของทุกปีจะมีวันสื่อสารด้วย
เอาละประวัติ แปๆๆๆ
ทุกวันที่ 4 สิงหาคม ของทุกปี
"การสื่อสารเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งอย่างหนึ่งในการพัฒนา สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้า รวมทั้งรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศด้วย ยิ่งในสมัยปัจจุบัน ที่สถานการณ์ของโลกเปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ ย่อมมีความสำคัญมากเป็นพิเศษ ทุกฝ่ายและทุกหน่ายงานที่เกี่ยวข้อง กับการสื่อสารของประเทศ จึงควรจะได้ร่วมมือกันดำเนินงานและประสานผลงานกันอย่างใกล้ชิด และสอดคล้อง
สำคัญที่สุด ควรจะได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิชาการและเทคโนโลยี อันทันสมัยให้ลึงและกว้างขวาง แล้วพิจารณาเลือกเฟ้นส่วนที่ดีมีประสิทธิภาพแน่นอนมาปรับปรุงใช้ด้วยความ ฉลาดริเริ่ม ให้พอเหมาะพอสมกับฐานะและสภาพบ้านเมืองของเรา เพื่อให้กิจการสื่อสารของชาติได้พัฒนาอย่างเต็มที่ และสามารถอำนวยประโยชน์แก่การสร้างเสริมเศรษฐกิจ สังคม และเสถียรภาพของบ้านเมืองได้อย่างสมบูรณ์แท้จริง"
พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ
ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2526
เนื่องในโอกาสการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติครั้งแรก พ.ศ. 2526
ความเป็นมาของวันสื่อสารแห่งชาติ
การสื่อสารในประเทศไทย นอกจากพิราบสื่อสารและม้าเร็วแล้ว การสื่อสารเริ่มเข้ามามีบทบาทต่อประเทศไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 3) ช่วงที่บ้านเมืองปลอดจากภัยสงคราม การเมืองภายในประเทศมีเสถียรภาพมั่นคง โดยวัตถุประสงค์ของการสื่อสารในยุคนั้น ก็เพื่อนำมาสนับสนุนกิจการด้านงานความมั่นคงของประเทศ ซึ่งยุคนั้นเรียกได้ว่า เป็นยุคเริ่มล่าอาณานิคมของชาติมหาอำนาจทั้งอังกฤษและฝรั่งเศส ต่างแย่งชิงผลประโยชน์ในภูมิภาคนี้ด้วยกัน และอารยะธรรมตะวันตกเริ่มหลั่งไหลเข้ามาสู่ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
ต่อมาในยุคพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) การสื่อสารได้เข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องกับราชสำนัก และเกิดพัฒนาสัมพันธ์ทางการทูตที่ดีกับประเทศมหาอำนาจ จนทำให้ประเทศรอดพ้นจากการถูกคุกคามจากมหาอำนาจตะวันตกหลายครา รวมทั้งการสื่อสารสามารถทำให้รับเอาวิทยาการใหม่ๆ มาปรับปรุงพัฒนาประเทศในเวลาต่อมา
จนกระทั่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ทรงเจริญรอยตามพระราชบิดาในการปฏิรูปประเทศ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหากษัตริย์ผู้วางรากฐานกิจการสื่อสารโทรคมนาคมของประเทศไทย พระองค์ทรงเห็นความสำคัญของการสื่อสารว่าเป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ และเพื่อบำบัดทุกข์ราษฎรในพื้นที่ห่างไกล ตลอดจนสนับสนุนงานด้านความมั่นคงของชาติด้วยประการหนึ่ง แรกทีเดียวนั้นการสื่อสารอยู่ในรูปไปรษณีย์พิเศษ ซึ่งเป็นหนังสือที่จัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ในบบพระบรมมหาราชวัง]] และเขตบบพระนครชั้นใน]] โดย สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ และเมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2424 ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง บบสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์]] เป็นผู้ก่อตั้งการไปรษณีย์
จอมพลสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุ์วงศ์วรเดช บิดาแห่งการโทรคมนาคมไทย
จนในที่สุดการสื่อสารของบบไทย]] โดยการบบไปรษณีย์]]ได้ถือกำเนิดขึ้นเป็น “กรมไปรษณีย์” อย่างเป็นทางการขึ้น ในวันที่ 4 สิงหาคม 2426 โดยมีที่ทำการไปรสะนียาคารแห่งแรก ที่ ปากคลองโอ่งอ่าง ตำบลราชบูรณะ และอาคารในพระราชอุทยานสราญรมย์
ขณะนั้นได้เริ่มมีการนำเทคโนโลยีบบโทรคมนาคม]]เข้ามา นั่นคือ กิจการโทรเลข ซึ่งถือว่าเป็นเทคโนโลยีโทรคมนาคมอันทันสมัยรวดเร็วที่สุดในยุคนั้น เดิมทีกิจการโทรเลขอยู่ในความดูแลของกลาโหม และมีพัฒนาการต่อเนื่องนับตั้งแต่มีการวางสายโทรเลขเป็นครั้งแรก ใน พ.ศ. 2418 กรุงเทพฯ ไป สมุทรปราการ เพื่อใช้ในงานราชการ จนกระทั่งได้เปิดให้มีบริการสำหรับประชาชนเป็นครั้งแรก เมื่อ 16 กรกฎาคม 2426 โดยมีอัตราค่าบริการ “คำละ 1 เฟื้อง” จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งขึ้นเป็น “กรมโทรเลข” อีกกรมหนึ่ง และมีสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภานุรังษีสว่างวงศ์ เป็นผู้สำเร็จราชการกรมโทรเลขอีกตำแหน่งหนึ่ง จากนั้นกลาโหมได้เริ่มมีการนำโทรศัพท์เข้ามาและมอบให้กรมโทรเลขดูแลต่อ
จะเห็นได้ว่ากิจการไปรษณีย์และกิจการโทรเลขนั้นคือ งานบริการประชาชนเพื่อติดต่อสื่อสาร ด้วยเหตุนี้ ในปี พ.ศ. 2441 กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิธาดา เสนาบดีกระทรวงโยธาธิการ จึงได้มีหนังสือกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้รวม กรมไปรษณีย์ และ กรมโทรเลข เป็นกรมเดียวกัน
บบพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวมทั้งสองกรมไว้เป็นกรมเดียวกันชื่อว่า “กรมไปรษณีย์โทรเลข” ตั้งแต่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2441 เป็นต้นมา
เมื่อเกิดทิศทางในการรวมการสื่อสารของชาติมาอยู่ที่เดียว กันจึงเกิดการพัฒนามากมายอย่างรวดเร็วตามมา เช่น มีการนำรถไฟมาสนับสนุนกิจการไปรษณีย์ ก็เกิดเป็นการรถไฟตามมา มีการนำเครื่องบินมาสนับสนุนการไปรษณีย์ที่เรียกว่า รอยัลเมลล์ ก็เกิดมีการบินขึ้นต่อมา การไปรษณีย์และโทรเลขมีการขยายบริการไปทั่วราชอาณาจักร รวมทั้งทำหน้าที่เป็นสื่อกลางของชาติในการสื่อสารไปยังต่างประเทศทั่วโลก ภารกิจของกรมไปรษณีย์โทรเลข มีมากมายขึ้น ถือได้ว่าเป็นราชการกรมแห่งแรกในประเทศก็กล่าวได้ จนเกิดงานสาธารณะอันสำคัญของประเทศให้รับผิดชอบขึ้นมากมาย ทั้งงานบริการโทรคมนาคมา กิจการวิทยุกระจายเสียง กิจการออมสิน กิจการวิทยุการบิน กิจการโทรศัพท์ซึ่งภายหลังได้แยกออกไป
จนกระทั่งปัจจุบันสืบเนื่องจากเจตนารมณ์ตามมาตรา 40 แห่งรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 ที่ต้องการให้มีองค์กรอิสระปราศจากการแทรกแซงจากรัฐ เข้ามาทำหน้าที่บริหารทรัพยากรคลื่นความถี่วิทยุ ซึ่งถือเป็นทรัพยากรสื่อสารของชาติเพื่อประโยชน์ของสาธารณะและกำกับดูแลให้ เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม อย่างแท้จริง จึงได้เกิดการตราพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่ และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม พ.ศ.2543 ขึ้นมา ตามเจตนารมณ์แห่งรัฐธรรมนูญฯ ฉบับดังกล่าว ส่งผลให้มีการประกาศให้ยุบกรมไปรษณีย์โทรเลข และจัดตั้ง “สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ หรือ (กทช.)” ขึ้นมาทำหน้าที่บริหารทรัพยากรโทรคมนาคมของชาติ และกำกับดูแลกิจการโทรคมนาคมให้เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม ดังที่ทราบกันดีในปัจจุบัน
จากการปฏิรูปการกำกับดูแลและบริหารกิจการสื่อสารโทรคมนาคม ของชาติโดยภาคประชาชนในครั้งนั้นเอง ทำให้ สำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กทช.) เป็นองค์กรของรัฐที่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงจากรัฐทั้งอำนาจบริหารและงบ ประมาณ ทำหน้าที่กำกับดูแล (Regulator) กิจการโทรคมนาคมของประเทศ โดยคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ชุดแรกจำนวน 7 คน ประกอบด้วย พลเอกชูชาติ พรหมพระสิทธิ์ ประธาน กทช. ศาสตราจารย์เศรษฐพร คูศรีพิทักษ์ ศาสตราจารย์ ดร.ประสิทธิ์ ประพิณมงคลการ นายเหรียญชัย เรียววิไลสุข นายสุชาติ สุชาติเวชภูมิ รองศาสตรา จารย์สุธรรม อยู่ในธรรม และ ดร.อาทร จันทวิมล (ปัจจุบันลาออกแล้ว)
บทบาทหลักของ กทช. คือ การบริหารคลื่นความถี่ เพื่อกิจการโทรคมนาคมและกำกับควบคุมดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชนทั้งในระดับชาติและระดับท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา วัฒนธรรม ความมั่นคงของรัฐและประโยชน์สาธารณะ อื่น ๆ ดูแลผลักดันให้เกิดการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมถึงส่งเสริมบทบาทด้านโทรคมนาคมไทยในเวทีโลก เพื่อให้การโทรคมนาคมไทยเจริญก้าวหน้า อันจะส่งผลให้เกิดความเจริญแก่บ้านเมืองในทุกด้านตามมา
นอกจากนี้ หน้าที่ที่สำคัญของ กทช. ตามภารกิจที่กฎหมายบัญญัติไว้มีอยู่อีกมากมายหลายประการ อาทิ ด้านการจัดสรรทรัพยากรคลื่นความถี่ สำหรับผู้ประกอบการ การออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคม การจัดสรรความถี่วิทยุเพื่อประโยชน์สาธารณะในด้านความมั่นคงของรัฐ การให้บริการประชาชน การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร การช่วยเหลือสังคม และการเปิดเสรีสำหรับบริการอินเทอร์เน็ตให้เกิดการแข่งขันเสรีอย่างเป็นธรรม อีกทั้งด้านการบริหารทรัพยากรและโทรคมนาคมอื่น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน อาทิ การจัดทำแผนเลขหมายโทรคมนาคมและการบริหารเลขหมายโทรคมนาคม รวมทั้งกำกับดูแลการบริหารเลขหมายให้เกิดความเป็นธรรม คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพสูงสุด
อย่างไรก็ตามปัจจุบัน เทคโนโลยีด้านการสื่อสารได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศ และบทบาทของภาคเอกชนมีมากขึ้นรวมทั้งการแข่งขัน ในกิจการสื่อสารทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก ได้ทวีความเข้มข้นยิ่งขึ้น ความได้เปรียบในเรื่องเศรษฐกิจของโลกในยุคโลกาภิวัตน์ ขึ้นอยู่กับการมีระบบการสื่อสารให้เจริญก้าวหน้า ทัดเทียมกับประเทศอื่น คณะรัฐมนตรีได้ตระหนักถึงบทบาทความสำคัญของการสื่อสารดังกล่าวเป็นอย่างดี จึงได้มีมติเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2546 กำหนดให้วันที่ 4 สิงหาคมของทุกปีเป็น "วันสื่อสารแห่งชาติ"
การจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติ
การจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติมีขึ้นเป็นประจำทุกปี (ยกเว้นปี พ.ศ. 2533 คณะกรรมการจัดงานวันสื่อสาร แห่งชาติได้มีมติให้งดการจัดแสดงนิทรรศการ คงมีแต่เฉพาะงานพิธีและการประชุมทางวิชาการเรื่องเทคโนโลยีพื้นฐานและการวาง แผนระบบสื่อสารผ่านดาวเทียม) และในการจัดงานวันสื่อสารแห่งชาติแต่ละปี จะเน้นหัวข้อการจัดงานแตกต่างกันไปทุกปี เช่น
•พ.ศ. 2528 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับบบเยาวชน]]แห่งชาติ
•พ.ศ.2530 หัวข้อการจัดงาน คือ บบพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]]กับการสื่อสาร
•พ.ศ. 2535 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารเพื่อทศวรรษหน้า
•พ.ศ.2538 หัวข้อการจัดงาน คือ การสื่อสารกับการพัฒนาเทคโนโลยีการสนเทศ เนื่องจากรัฐบาลได้ประกาศให้ปี พ.ศ.2538 เป็นปีเทคโนโลยีสารสนเทศไทย
กิจกรรมต่างในวันสื่อสารแห่งชาติ
ในวันสื่อสารแห่งชาติ ได้มีการจัดกิจกรรมต่างๆ ได้แก่
1. พิธีถวายเครื่องสักการะพระบบอนุสาวรีย์]]สมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพันธุวงศ์วรเดช
2.การกล่าวคำปราศรัยของพณฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย และโทรทัศน์รวมการเฉพาะกิจแห่งประเทศไทย
3.การจัดทำดวงตาไปรษณียากรที่ระลึกวันสื่อสารแห่งประเทศไทย
4.การจัดนิทรรศการแสดงเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม
กิจกรรมถึง 6โมงเย็นนี้นะครับ
เราได้เห็นความสำคัญของเครื่องสื่อสารแล้ว
ใครโพสก่อนบ่าย 3 รับไปเลย V.I.P สำหรับคลับสึนะ โปรดติดตาม กิจกรรมหน้า
แก้ไขล่าสุดโดย dew20020 เมื่อ Sun Jul 31, 2011 8:28 am, ทั้งหมด 1 ครั้ง